top of page

Carbon Neutrality

สถานนีอัดประจุไฟฟ้าสำหรับรถยนต์EV ช่วยเป็นแรงผลักดันสู่ความเป็นกลางทางคาบอน

FAQ ถามมา ตอบไป สร้างสร้างสถานนีอัดประจุไฟฟ้า รถยนต์ 

LINE_ALBUM_mood guideline_๒๓๐๗๑๓.jpg

Asked Question : สร้างสร้างสถานีอัดประจุไฟฟ้ารถยนต์EV ใช้งบเท่าไหร่

การสร้างสถานีอัดประจุแบบเชิงพาณิชย์จริงแล้วใช้งบประมาณด้วยกันอยู่หลายส่วน แต่โดยส่วนหลักแล้ว ถ้า โฟกัสที่จุดชาร์จ หรือ CHARGE POINT เอง จะแบ่งเป็น 3 ส่วนหลักคือ 

1. งบประมาณราคาของ ตู้ชาร์จ รุ่น ความแรง และ แบรนด์ของยี่ห้อตู้ขาร์จ DC30 DC60kw DC120kw DC150kw DC180kw

2. การเดินสายไฟ ระหว่าง มิเตอร์ของการไฟฟ้า มายังตู้ EVDB หรือ MDB นี้ และการเดินสายไฟจาก ตู้ MAIN มาเข้าสู่ตู้ชาร์จ  งานก่อสร้าง งานโยธา ต่างๆ หลังคาเหล็กไฟส่องสว่าง พื้น การทาสีพื้นและอุปกรณ์ตกแต่งบอกทาง

3. งบประมาณสำหรับ หม้อแปลงไฟ จากการไฟฟ้า กรณีพื้นที่เป็นที่ดินที่ไม่มีหม้อแปลงหรือหม้อแปลงเต็ม capacity แล้ว หรือหากที่ดินนั้นมีหม้อแปลงอยู่แล้ว ยังมี Capacity เหลือพอให้ แชร์ Capacity กับภาคครัวเรือนในพื้นที่นั้นได้ ก็มีค่าใช้จ่ายการประกันหม้อแปลงไฟ ค่าตรวจสอบสาย ค่าใช้จ่ายต่างๆจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค , การไฟฟ้านครหลวง แล้วแต่พื้นที่

Asked Question : ที่ดินเช่า หรือ ที่ดินซื้อ คุ้มค่ากว่ากัน 

การสร้างสถานนีอัดประจุ หากเป็นที่ดิน ส่วนตัว แนะนำให้ใช้ บริษัทจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล ทำสัญญาเช่ากับ บุคคลธรรมดา จะดำเนินการด้านการส่งบัญชี การส่งงบกำไรขาดทุน ง่ายกว่า และ  ในการยื่นแบบขออนุญาต ใช้มิเตอร์แบบสถานีอัดประจุ สามารถทำได้ 

Asked Question : สามารถใช้ตู้ชาร์จ DC ต่อเข้ากับมิเตอร์แบบไม่ใช่สถานนีอัดประจุได้หรือไม่ เช่น หม้อแปลงแบบ TOU  แบบภาคครัวเรือนใช้ทั่วไป  

ไม่แนะนำให้ใช้ในเชิงพาณิชย์เช่นนั้นเนื่องจาก กระแสไฟฟ้า ที่เข้ามายังตู้ชาร์จ input rate ของตู้ชาร์จ DC ขนาดเล็ก เช่น DC30kw ก็ยังกินกระแสระดับ 50A h- 70Ah และยังผิดวัตถุประสงค์ของการใช้มิเตอร์อีกด้วย  

อีกทั้งในส่วนของผู้ประกอบการเอง ก็ ยังได้เรตอัตราค่าไฟฟ้า ในราคาที่ค่อนข้างสูง ตามอัตราปกติ  หากจะนำมาขายต่อในลักษณะนั้นก็ยังสามารถทำกำไรได้ยากยกเว้น ขายแพงกว่าราคาปกติทั่วไป ทางเราจึงไม่แนะนำ

Asked Question : จะเสียภาษีอย่างไร 

การทำรายการเพื่อยื่นเสียภาษี สามารถดึงข้อมูล จาก Report ระบบหลังบ้านเพื่อดูยอดขายรายสถานนี สำหรับผู้ประกอบการได้และนำส่งบัญชีรายรับรายจ่ายได้ปกติโดยรายจ่ายทางตรงคือ ค่าไฟที่จะเกิดขึ้น พร้อมรายได้ที่เกิดขึ้นจากการที่มีลูกค้ามาชาร์จ  และทุกๆ การชำระเงินของลูกค้า ผ่าน Payment Gateway ก็ยังมีรายชื่อ แอคเคาร์ท ที่ชำระเข้ามารวมถึงสรุปยอดเข้ามาให้ด้วยผ่านทาง e mail ลูกค้า และผู้ประกอบการ 

Asked Question : ทางผู้ประกอบการหรือผู้ลงทุนต้องเสียอะไรหรือมีค่าใช้จ่ายอะไรให้กับทางบริษัท การ์เด้น เอนเนอร์จี้ หรือ เจ้าของแฟรนไชส์ บ้าง

โดยหลักแล้วทางบริษัท จำหน่ายตู้ชาร์จและติดตั้งจนเรียบร้อยแล้ว ก็จะมีค่าบริการใช้ตราสัญลักษณ์และแบรนด์ของ G power ร่วมกัน โดยทางเราจะเรียก Application ทั้งหมดนี้เรียกว่า Plateform โดย ทางบริษัท คิดค่าแฟรนไชส์หรือค่าบริการดังนี้ กรณี ตู้ชาร์จ DC ทางบริษัท คิดค่า ธรรมเนียมแฟรนไชส์  เดือนละ 5,000.- บาท กรณี ยอดขายเกิน 100,000.- บาท ขึ้นไป ส่วนกรณี ยอดขายต่ำกว่า 100,000.- บาท ทางบริษัท เก็บค่าธรรมเนียมแฟรนไชส์ 50%   

และค่ายอดขายต่ำกว่า 50,000.- บาท ทาง บริษัท งดเว้นการเก็บค่าธรรมเนียม 

กรณีตู้ชาร์จ AC22kw   หากยอดรายได้ ต่ำกว่า 15,000.- บาทต่อเดือน จ่ายค่าธรรมเนียม 295.-/เดือน ส่วนรายได้ต่ำกว่า 5,000.- บาทต่อเดือน ยกเว้นค่าธรรมเนียม 

ซึ่งทางบริษัท มีเป้าประสงค์ ในการร่วมผลักดันการใช้งาน Application ของทางบริษัท 

Asked Question : ยอดรายได้สามารถดูได้จากอะไร คำนวณให้เห็นยังไงได้บ้าง 

กรณีทำเลพื้นที่ ลูกค้าอาจจะต้องพิจารณา ในพื้นที่ ที่ลูกค้าเห็นสมควรแล้ว ส่วนการคำนวณเรานำเสนอดังนี้ 

ค่าเฉลี่ยการชาร์จ ปริมาณหน่วยที่ได้รับต่อชั่วโมงของตู้ DC50kw   =   50kw/hr   วันนึงอาจจะมีคนชาร์จเราที่ 10 ชั่วโมง หรือ

มากกว่า ผู้ประกอบการ วาง Margin หรือมูลค่าการตลาดต่อ kw ไว้ที่ 3บาท / kw  ตัวอย่างการคำนวณเฉพาะกำไร  3บาท ต่อ kw   [  3บาท กำไร x จำนวน kwต่อชั่วโมง 50 = 150บาท ต่อชั่วโมง ในหนึ่งวันจะมีคนชาร์จกี่ชั่วโมงก็สามารถลองวางดูเช่น 10 ชั่วโมงก็คือ กำไรวันละ 1,500.- บาท ต่อ 1 หัวจ่าย ถ้าตู้นึงมี 1 ตัวจ่าย เช่น ตู้ 100kw  แบ่ง 50kw x 2 หัว ก็คือ 3,000.- ต่อตู้

นี่เป็นเพียงหนึ่งในแบบจำลองรายได้ แต่ในความเป็นจริง ทางผู้ลงทุน หรือผู้ประกอบการ จะต้องศึกษาในทำเลหรือพื้นที่นั้นๆ 

Asked Question : จะดูยอดขายได้ยังไง 

ท่านสามารถดูรายได้ หรือสถานะการทำงานของตู้ชาร์จได้ผ่านทาง Application G partner สำหรับผู้ประกอบการ  

ดูยอดการชาร์จรายตู้ รายสถานี 

แบ่งดูรายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน 

และยังสามารถ ส่งรายงานไปยังอีเมล์ในรูปแบบไฟล์ .excel .xls 

AC 22Kw  ที่ใครๆก็สามารถลงทุนเป็นเจ้าของได้

ราคาตู้ชาร์จ พร้อมติดตั้ง 65,000.- บาท ซื้อขาดตลอดไป
ราคา Application ทั้ง 2 Application 21,240.- ตลอด3ปี

เครื่อง.png
bg5.jpg

G PARTNER
สำหรับผู้ประกอบการ

เทคโนโลยี ล้วนเข้ามามีบทบาท ในชีวิต การลงทุนในธุรกิจ

ก็เช่นเดียวกัน เมื่อรถยนต์ EV เป็นหนึ่งในปัจจัย ที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน พลังงานและการใช้งานของรถยนต์ทุกคัน ที่จะต้องมีการเติม และ เติมซ้ำๆ ธุรกิจสถานนีอัดประจุไฟฟ้า จึงกำเนิดขึ้นเพื่อรองรับผู้ใช้งาน

ส่วน Application G Partner ก็เป็น App ที่ทำให้ผู้ประกอบการ

หรือนักลงทุน ได้เห็นยอดขายไฟฟ้าในแต่ละวัน และ ทุกๆ การโอนชำระเงิน [Payment Transection] ให้คุณสามารถตรวจสอบ ยอดรายได้อย่างชัดเจน แม่นยำ สะดวก อยู่ที่ไหนก็สามารถดูรายได้แม้ในเวลาที่คุณพักผ่อน

bg2.jpg

งบประมานการลงทุน

   งบประมาณการลงทุน คือเป็นงบประมาณที่ผู้ประกอบการหรือนักลงทุน จะต้องจัดเตรียม เพื่อใช้เป็นส่วนของสถานีอัดประจุ ตามขนาด สเกล ของธุรกิจ เช่น พื้นที่จอดรถ หลังคา สิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ เช่นห้องน้ำ หรือ ร้านค้าอาหาร และสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่เป็น Asset ของผู้ประกอบการเองในระยะยาว ท่านจึงสามารถที่จะคำนวณ ถึงจุดคุ้มทุน Brake Event Point และ จุดคืนทุน ได้ โดย สามารถแบ่งเป็น ส่วนของการลงทุนดังนี้

ราคาตู้ชาร์จ DC60 KW

ตู้ชาร์จ DC FAST CHARGE 60 KW ราคา 590,000.- บาท ราคารวม Application

ที่สามารถเปิดใช้งานร่วมกันกับตู้ชาร์จของเรา ทำให้ตู้ชาร์จของท่านเข้ามาอยู่ในระบบแผนที่ ของ G power อีกทั้ง ท่านผู้ประกอบการสามารถดูยอดขายได้จาก Application

ของ G partner ของท่านเอง

ค่าเดินระบบไฟฟ้า
ขอมิเตอร์จากการไฟฟ้า 

ในส่วนนี้จะเป็นค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่ท่านจะต้องจัดเตรียมให้กับ การไฟฟ้านครหลวง /

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การยื่นขอมิเตอร์แบบสถานีอัดประจุ การเดินสายไฟ SigleLineDiagram การติดตั้งระบบส่งไฟฟ้า (Main Distribution Board) ในส่วนของการว่าจ้างงานเดินสายMain และสายไฟตามหลักเกณฑ์ที่ผ่านการตรวจพิจารณารับรองของการไฟฟ้า

ที่ดิน งานโครงสร้าง

แน่นอนว่าการลงทุนสถานีอัดประจุไฟฟ้า หรือ สถานนีชาร์จนี้จะต้องการใช้พื้นที่อย่างต่ำ

ต้องมีที่ให้ตั้งตู้ชาร์จลและพื้นที่สำหรับจอดรถ ท่านผู้ประกอบการเตรียมพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นพื้นที่เช่า ในแหล่ง ทำเล ที่น่าสนใจ มีผู้คนสัญจร หรือแม้กระทั่งการลงทุนในที่ดินทรัพย์สินที่สามารถเพิ่มมูลค่าของที่ดินได้อีก ในการปล่อยเช่าให้กับธุรกิจที่เกี่ยวข้องในเชิงพาณิชย์แบบ Station Market

G-POWER-BANNER-POST-SIZE1200x1200px-สา่า่า.jpg

Download the app now!

ความสามารถของระบบ Application ใช้ User เดียวกันได้

ใช้ดูสถานนะความพร้อมของตัวตู้ Check Status EV charging point

ดูสถานะรายตู้ได้ตรวจสอบ ยอดการใช้ไฟฟ้า 

ตรวจสอบยอดเงินเข้า รายตู้ตรวจสอบยอดขายรายวัน รายเดือน

รายสัปดาห์ รายงาน และ สรุปต่างๆ เพื่อใช้ผลวิเคราะห์ทำเลของตู้ที่ตั้ง 

Get Updates

Get the latest app version, news & updates. Subscribe to our newsletter.

Thanks for submitting!

  • Facebook
  • Twitter
  • Instagram
  • LinkedIn
bottom of page